บทความชุด "ฉันอ่าน"


2020-01-29_บทความชุด "ฉันอ่าน" ตอนที่ 5 ชื่อว่า "เจ้าพระยา" มาจากไหน และการขุดคลองลัดอ้อมเกร็ด ลัดแม่น้ำเจ้าพระยา @ 29 มกราคม 2563สวัสดีครับทุกท่าน ในตอนที่ 5 นี้ เรื่องแรกที่อยากแบ่งปัน คือ ที่มาของชื่อแม่น้ำ "เจ้าพระยา" ว่ามาจากไหน เนื่องจากระหว่างที่อ่านเรื่องการขุดคลองลัดอยู่นั้น ในเว็บไซต์มีข้อมูลที่แสดงค่อนข้างมากคือ การถกเถียงเรื่องชื่อของแม่น้ำเจ้าพระยา ว่ามีที่มาอย่างไร มีการกล่าวถึงเจ้าพระยา 4 ท่าน หรือเรียกว่า "สี่เจ้าพระยา" ก็ตกไปเพราะเป็นเรื่องแต่งขึ้นมา แต่ที่เป็นไปได้มากที่สุด คือ วิธีการเรียกปากแม่น้ำที่ลงสู่ทะเล แล้วนำมาใช้เป็นชื่อเรียกของแม่น้ำแทน เช่น บริเวณทางออกของแม่น้ำบางปะกง เป็นอำเภอบางปะกง จึงเรียกว่า "แม่น้ำบางปะกง" หรือเช่นทุกวันที่ที่ใช้กันอยู่ คือ แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำแม่กลอง .....อ่านต่อ

2020-01-17_บทความชุด "ฉันอ่าน" ตอนที่ 4 ทำไมต่างชาติถึงต้องมาค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา และการขุดคลองลัดอ้อมนนท์ ลัดแม่น้ำเจ้าพระยา @ 17 มกราคม 2563สวัสดีครับทุกท่าน สำหรับตอนที่ 4 ผมต้องแจ้งทุกท่านว่า มันอดใจไม่ไหว ที่คงต้องแทรกข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้สอดรับกับเรื่องการขุดคลองลัด ในช่วงต้นของบทความจึงอยากพาทุกท่านย้อนดีตกับคำถามว่า ทำไมต้องขุดคลองลัดเพื่อให้เรือสำเภาถึงพระนครเร็วขึ้น ทำไมเรือสำเภาของต่างชาติทั้งฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออกถึงต้องมาเทียบท่าค้าขายที่กรุงศรีอยุธยา ทั้งๆ ที่อยู่ลึกเข้ามาจากปากอ่าวเป็น 100 กิโลเมตร จะเห็นว่าเป็นเหตุเป็นผลสอดคล้องกัน ก็เพราะเรือสำเภาต้องมาค้าขายที่กรุงศรีอยุธยา พระมหากษัตริย์แต่ละยุค จึงต้องมีการขุดคลองลัดเพื่อให้เรือสำเภาใช้เวลา .....อ่านต่อ

2020-01-16_บทความชุด "ฉันอ่าน" ตอนที่ 3 การขุดคลองลัดบางกอก ลัดแม่น้ำเจ้าพระยา @ 16 มกราคม 2563สวัสดีครับทุกท่าน สำหรับตอนที่ 3 นี้ ผมอยากลงรายละเอียดของต้นเหตุของการขุดคลองอีกสักนิด (ส่วนแนวคิดการเขียนบทความชุด "ฉันอ่าน" และภาพรวมใหญ่ของการขุดคลองที่มีผลต่อการเปลี่ยนเส้นทางการเดินของแม่น้ำเจ้าพระยาสามารถอ่านย้อนหลังได้) เมื่อปี พ.ศ.2065 ในสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช ได้มีการขุดคลองลัดบางกอก (ใรปัจจุบันคือ บริเวณปากคลองบางกอกน้อย เชื่อมทะลุปากคลองบางกอกใหญ่) หรือกว่า 500 ปีผ่านมาแล้ว อีก 16 ปีต่อมา (พ.ศ.2081) ในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ ทรงให้มีการขุดคลองลัด เชื่อมคลองบางกรวยบริเวณวัดชลอตัดตรงเข้าแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ .....อ่านต่อ

2020-01-15_บทความชุด "ฉันอ่าน" ตอนที่ 2 การขุดคลอง (สำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงเส้นทางแม่น้ำเจ้าพระยา) @ 15 มกราคม 2563สวัสดีครับทุกท่าน สำหรับที่มาต้นเหตุของการพิมพ์บทความ "ฉันอ่าน" ที่มาจาก "ความสงสัยรวม" ผมอารัมภบทไปแล้วในตอนแรก สำหรับตอนที่ 2 นี้ ผมขอท้าความถึงบทความที่ได้ไปทำบุญขึ้นปีใหม่เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 ที่ผ่านมา ว่าทำให้ผมพึ่งทราบว่า คลองอ้อมนนท์ คือ แม่น้ำเจ้าพระยาสายเก่า และมีการขุดคลองตรงบริเวณปากคลองอ้อมนนท์ ลัดตรงมาถึงวัดเขมาภิรตาราม ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยากว่า 400 ปี ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเดินของแม่น้ำเป็นเช่นปัจจุบันนี้ แน่นอนว่านอกจากผมพึ่งรู้เรื่องนี้ ทำให้ได้คำตอบอีกหลายเรื่องตาม ซึ่งจะได้พิมพ์แทรกในบทความแต่ละตอนต่อไป อีกมูลเหตุหนึ่งที่ทำให้ .....อ่านต่อ

2020-01-14_บทความชุด "ฉันอ่าน" ตอนที่ 1 ต้นเหตุของการพิมพ์บทความชุด "ฉันอ่าน" @ 14 มกราคม 2563สวัสดีครับทุกท่าน สำหรับบทความชุด "ฉันอ่าน" จะถูกนำเผยแพร่ 2 เว็บไซต์ คือ https://booktoblog.blogspot.com/  และ http://preedanoikendezu.blogspot.com/ แต่ผมจะพิมพ์เนื้อหาหลักในเว็บ "อ่าน Book เขียน Blog" เนื่องจากมี 2 อารมณ์ในบทความคือ เกิดจากการอ่าน แต่รวมการใส่อารมณ์ ความคิดส่วนตัวในลักษณะการวิเคราะห์เข้าไปด้วยครับ คราวนี้เรามาถึงต้นเหตุจริงๆ ของการนำเสนอบทความชุดนี้ สืบเนื่องจาก ส่วนตัวเป็นคนขี้สงสัย สงสัยแล้วก็มักหาคำตอบ เช่น ชอบถาม หรือค้นคว้าเพิ่มเติมจนได้คำตอบ นั่นคือ .....อ่านต่อ





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น


บทความที่ได้รับความนิยม 10 อันดับแรกครับ